มรดกทางวัฒนธรรมของฮิราอิซูมิ

มรดกทางวัฒนธรรมของฮิราอิซูมิ

ความก้าวหน้าจนถึงได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก

ปีเฮเซ 9(1997)
5 มี.ค.ซากยานางิโนะโกะโชะ ได้รับการแต่งตั้งเป็นซากโบราณสถาน
ประกาศความเป็นไปได้ในการขึ้นทะเบียนของฮิระอิซูมิ
คุณซูซูกิ คากิทสึ (18 ต.ค. 1998)
22 พ.ค.คณะกรรมการสนับสนุนการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอิวาอิได้เสนอ “การลงทะเบียนเป็นมรดกโลกของ มรดกทางวัฒนธรรมฮิระอิซูมิ”
(เป็นการเคลื่อนไหวแรกของการแจ้งจำนงค์การลงทะเบียนเป็นมรดกโลกของฮิระอิซูมิ)
24 ธ.ค.การประชุมร่วมของจังหวัด และเมืองเกี่ยวกับการลงทะเบียนมรดกโลก
ปีเฮเซ 10(1998)
11 มิ.ย.คณะกรรมการการศึกษาของเมือง ได้เข้าหารือกับสำนักงานวัฒนธรรมเกี่ยวกับการลงทะเบียนมรดกโลก
25 ส.ค.สำรวจนิกโก้ (ผู้เกี่ยวข้องของวัดจูซนจิ เมืองฮิระอิซูมิ จ.อิวาเตะ)
17 ก.ย.ในการประชุมสามัญประจำปีของคณะกรรมการเมืองฮิระอิซูมิในเดือนกันยายน นายกเทศมนตรีได้กล่าว “อยากตั้งศูนย์สนับสนุนเพื่อลงทะเบียนมรดกโลกทางวัฒนธรรม”
(นโยบายสนับสนุนการลงทะเบียนได้เป็นรูปเป็นร่าง)
18 ต.ค.จัดการบรรยาย “บอกเล่าเรื่องมรดกโลก” ในศูนย์ประชุมวัฒนธรรมฮิระอิซูมิ
ผู้บรรยาย คุณซูซูกิ คากิทสึ (หัวหน้าสำนักงานวิจัยสมบัติทางวัฒนธรรมแห่งชาตินาระ)
กล่าวถึงความเป็นไปได้ในการลงทะเบียนของฮิระอิซูมิ
ปีเฮเซ 11 (1999)
24 ก.ค.ก่อตั้งสมาคมยูเนสโก้ฮิระอิซูมิ
ปีเฮเซ 12(2000)
2 ก.พ.จัดทำร่าง “สมบัติทางวัฒนธรรมแห่งฮิระอิซูมิ” จังหวัดอิวาเตะศาลาโอยโด หอไตรเคียวโซ ยานางิโนะโกะโชะ
構สมบัติที่เกี่ยวข้อง ได้มีการเสนอรายชื่อ วัดจูซนจิ (ศาลาคนจิคิโด, โอยโด, หอไตรเคียวโซ, เจดีย์กังเซชูอิง, เจดีย์ชะกุซงอิงโกะริงโต) วัดโมซือจิ, ซากวัดมุเรียวโคอิน, ซากยานางิโนะโกะโชะ
เม.ย.แต่งตั้งบริเวณโดยรอบของเมืองฮิระอิซูมิ จังหวัดอิวาเตะ ให้เป็น “พื้นที่สำคัญในการพัฒนาภูมิทัศน์”
มิ.ย.คณะกรรมการเมืองฮิระอิซูมิ ได้มีมติจัดตั้งคณะกรรมการพิเศษตรวจสอบการลงทะเบียนมรดกโลกทางวัฒนธรรม จากการเสนอของพิพิธภัณฑ์แห่งชาติ
22 ก.ย.ลงรายชื่อเข้าไปยังบัญชีเสนอชื่อเข้าเป็นมรดกโลกขอให้มีการศึกษา พิจารณาคุณสมบัติเพื่อเข้าร่วมบัญชีเสนอชื่อเข้าเป็นมรดกลง ต่อคณะกรรมการพิจารณาอนุสัญญาวัฒนธรรมมรดกโลก สำนักงานวัฒนธรรม 文化財保護審คณะกรรมการพิจารณาเพื่อคุ้มครองทรัพย์สินทางวัฒนธรรมได้มีการตั้งคณะกรรมการพิเศษอนุสัญญามรดกโลก และเริ่มทำการศึกษา พิจารณา
6 พ.ย.สำรวจนิกโก้โดย คณะกรรมการเมืองฮิระอิซูมิ
17 พ.ย.คณะกรรมการพิจารณาเพื่อคุ้มคอรงทรัพย์สินทางวัฒนธรรมรับรองการขึ้นทะเบียนในบัญชีเสนอชื่อเข้าเป็นมรดกโลก
ปีเฮเซ 13(2001)
24 ม.ค.จัดประชุมสมัชชา คณะกรรมการส่งเสริมการขึ้นทะเบียนมรดกโลก เมืองฮิระอิซูมิ
จัดตั้งคณะกรรมการแม่แบบส่งเสริมการขึ้นทะเบียน (13 ม.ค. 2001)(H13.1.24)
18 ก.พ.จัดการบรรยาย เรื่อง “ความสำคัญของมรดกโลก” งานบรรยายมรดกโลกครั้งที่ 1
ผู้บรรยาย คุณอะโอยามะ ชิเงรุ (ศาสตราจารย์เกียรติคุณมหาวิทยาลัยเทสึกะยามะ) จะมีการจัดต่อไปทุกปี
6 เม.ย.ลงรายชื่อเข้าไปยังบัญชีเสนอชื่อเข้าเป็นมรดกโลก「ขึ้นทะเบียนในบัญชีเสนอชื่อเข้าเป็นมรดกโลก “มรดกทางวัฒนธรรม ฮิระอิซูมิ”
22 มิ.ย.แผ่นภาพมันดาระเจดีย์ทองคนโคเมียวไซโชโอเคียว บนกระดาษสีกรมท่าได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกแห่งชาติ
24 ธ.ค.จัดการประชุมคณะกรรมการที่ปรึกษาการขึ้นทะเบียนมรดกโลกทางวัฒนธรรมฮิระอิซูมิ (ครั้งที่ 1)
(ในการขึ้นทะเบียนต้องมีการเพิ่มการระบุโบราณสถาน 18 เฮกเตอร์)
ปีเฮเซ 14(2002)
16 ม.ค.งานบรรยายให้แก่ชาวเมืองในเรื่องเพิ่มการระบุโบราณสถานเพื่อขึ้นทะเบียนมรดกโลก
(จัดที่ศาลาประชาคมเขต 12, 13)
จัดครั้งที่ 2 ในวันที่ 23 ม.ค.

งานบรรยายให้แก่ชาวเมืองในเรื่องการเตรียมรับการเพิ่มการระบุโบราณสถาน (16 ม.ค. 2002)
1 เม.ย.จัดตั้งสำนักงานส่งเสริมมรดกโลก เมืองฮิระอิซูมิ
20 มิ.ย.จัดตั้งคณะกรรมการความร่วมมือส่งเสริมการขึ้นทะเบียนมรดกโลกทางวัฒนธรรม-สมาชิก-กระทรวงที่ดิน ระบบสาธารณูปโภค คมนาคมและการท่องเที่ยว, จังหวัดอิวาเตะ, เมืองฮิระอิซูมิ
พิจารณา การระบุโบราณสถาน วัดจูซนจิ, วัดโมซือจิ, วัดมุเรียวโคอิน, ซากยานางิโนะโกะโชะ และเขาคิงเคซัง เพื่อเป็นตัวแทนของสมบัติในการเสนอชื่อ
20 ธ.ค.จัดตั้งคณะกรรมการบริหารมูลนิธิส่งเสริมมรดกโลก เมืองฮิระอิซูมิ
ปีเฮเซ 15(2003)
12 ก.พ.จัดการประชุมคณะกรรมการที่ปรึกษาการขึ้นทะเบียนมรดกโลกทางวัฒนธรรม
รับมติปีที่ตั้งเป้าหมายขึ้นทะเบียนเป็นปี 2008

ประกาศตราสัญลักษณ์ที่ได้รับการคัดเลือกจากการยื่นเสนอผลงานกว่า 201 ชิ้น (21 ต.ค. 2003)
30 พ.ค.เวทีละครโนศาลเจ้าฮะกุซัง ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นสมบัติทางวัฒนธรมที่สำคัญของชาติ
9 ต.ค.จัดการประชุมคณะกรรมการที่ปรึกษาการขึ้นทะเบียนมรดกโลกทางวัฒนธรรม (ครั้งที่ 2)รองรับการเป็นมรดกที่ได้รับเสนอ
เพิ่มรายชื่อนายกเทศมนตรีเมืองอิจิโนะเซกิ เมืองมาเอะซาวะ และหมู่บ้านโคโมโระงาวะ ไปในรายชื่อคณะกรรมการ และพิจารณาเพิ่มสมบัติที่เกี่ยวข้อง
รับทราบแผนการเพิ่ม ทัคโคคุโนะอิวายะ, ซากโฮโนะเดระมุระโชเอง, ซากวัดโจจะงะฮาระ, ซากชิโระโทริดาเตะ เพื่อขื้นทะเบียนเป็นโบราณสถาน
21 ต.ค.ตัดสินตราสัญลักษณ์มรดกทางวัฒนธรรม ฮิระอิซูมิ โดยคณะกรรมการส่งเสริมมรดกโลก
ปีเฮเซ 16(2004)
มี.ค.“ฮิระอิซูมิ ที่ฟื้นคืนชีพด้วยCG” แล้วเสร็จ
หลังจากนั้น ได้มีส่วนอย่างมากในการส่งเสริมคุณค่าของ “ฮิระอิซูมิ”

ประกาศ CGภาพจำลอง โดยสร้างจากข้อมูลที่ได้จากงานวิจัยล่าสุด
เม.ย.ก่อตั้งองค์กรรับผิดชอบมรดกโลก ในแผนกวัฒนธรรมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต คณะกรรมการการศึกษาจังหวัดอิวาเตะ
8 มิ.ย.ศาลาทองคนจิคิโด รวมทั้งพระพุทธรูป และส่วนภายใน ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกของชาติ
24 มิ.ย.ก่อตั้งคณะกรรมจัดทำใบยื่นเสนอการลงทะเบียนมรดกโลก “มรดกทางวัฒนธรรม ฮิระอิซูมิ” ในคณะกรรมการการศึกษาจังหวัดอิวาเตะ
(ต่อจากนี้จะใช้คำว่า คณะกรรมการจัดทำใบยื่นเสนอ)
30 ก.ย.เพิ่มซากมุเรียวโคอิน เป็นโบราณสถานพิเศษ และเพิ่มซากยานางิโนะโกะโชะเป็นโบราณสถาน
19 พ.ย.จัดการประชุมคณะกรรมการจัดทำใบยื่นเสนอ (ครั้งที่ 1)
※หลังจากนั้นได้มีการจัดรวม 6 ครั้งจน 22 มิ.ย.2006
ปีเฮเซ 17(2005)
22 ก.พ.ขึ้นทะเบียนเขาคิงเคซัง เป็นโบราณสถาน
กระตุ้นจิตวิญญาณแห่งความภูมิใจ และการสืบทอดเจ้าอาวาสจิดะ โคชิง (18 ก.ย. 2005)
2 มี.ค.ทัคโคคุโนะอิวายะ, ซากโฮโนะเดระมุระโชเอง ได้ขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถาน
สวนโบราณวัดคันจิไซโออิน ขึ้นทะเบียนเป็นพื้นที่ที่มีภูมิทัศน์งดงาม
14 ก.ค.ซากสึเกะตาริจันจุจะอะโตในบริเวณของโมซือจิ ได้รับการเพิ่มเข้าไปในการเป็นโบราณสถานพิเศษ และได้มีการเปลี่ยนชื่อ
ซากยานางิโนะโกะโชะ, หมู่ซากโบราณฮิระอิซูมิได้รับการเพิ่มเข้าไปในการเป็นโบราณสถานพิเศษ และได้มีการเปลี่ยนชื่อ
※ได้มีรวม ซากวัดโจจะงะฮาระ, ซากชิโระโทริดาเตะเข้าไปด้วย
ปีเฮเซ 18(2006)
1 ม.ค.บังคับใช้พระราชกฤษฏีกาภูมิทัศน์ในเมืองฮิระอิซูมิ
นักวิชาการนานาชาติสำรวจวัดจูซนจิ (9 มิ.ย. 2006)
(H18.6.9)
26 ม.ค.รองรับซากมุเรียวโคอิน เป็นโบราณสถานพิเศษ และซากโฮโนะเดระมุระโชเองเป็นโบราณสถาน
20 ก.พ.บังคับใช้พระราชกฤษฏีกาภูมิทัศน์ในเขตโอชู
1 เม.ย.บังคับใช้พระราชกฤษฏีกาภูมิทัศน์ในเขตอิจิโนะเซกิ รวมบังคับใช้ภายในเมืองและเขตที่เกี่ยวข้องทั้งหมด
กระบวนการพิจารณาความสมบูรณ์ของพื้นที่กันชนเสร็จสมบูรณ์
8 มิ.ย.จัดการประชุมนักวิชาการนานาชาติ “มรดกทางวัฒนธรรม ฮิระอิซูมิ” จนถึง 11 มิ.ย.
ประเมินคุณค่าของ “ฮิระอิซูมิ” โดยนักวิชาการจากเนเธอร์แลนด์ จีน เกาหลี
22 มิ.ย.รับทราบแผนร่างใบยื่นเสนอ ในการประชุมคณะกรรมการจัดทำแผนร่าง (ครั้งที่ 6)
21 ก.ค.เลือกภูมิทัน์ศหมู่บ้านเกษตรกรรม อิจิโนะเซกิฮนเดระ เป็นภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรมที่สำคัญ
กระบวนการทางกฏหมายของสมบัติทั้งหมดแล้วเสร็จ
14 ก.ย.รัฐบาลรองรับการเสนอชื่อ ในงานประชุมประสานงานหน่วยงาน และกระทรวงที่เกี่ยวข้องกับมรดกโลก
21 ก.ค.รับรองการยื่นใบยื่นเสนอ “ฮิระอิซูมิ” ในการประชุมอนุกรรมการมรดกวัฒนธรรมของสภาวัฒนธรรม
ชื่อสมบัติ “ฮิระอิซูมิ- ภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรมที่อิงแนวความคิดทางสุขาวดี (โจวโด)”」
14 ธ.ค.ใบยื่นเสนอแล้วเสร็จ
26 ธ.ค.ศูนย์มรดกโลกยูเนสโก้ รับยื่นใบยื่นเสนอ
ปีเฮเซ 19(2007)
19 ม.ค.จัดตั้งคณะอนุกรรมการส่งเสิรมการใช้งานและอนุรักษ์มรดกโลกจังหวัดอิวาเตะ (เปิดการประชุมในวันที่ 7 ก.พ.)
เทศกาลปลูกต้นไม้ และป่ามรดกโลก (21 เม.ย. 2007)
21 เม.ย.เทศกาลการปลูกต้นไม้ และป่ามรดกโลก มีการปลูกต้นกล้าต้นฮิบะอาโอโมริในพื้นที่กว่า 600 ตารางเมตรภายในพื้นที่ของอาซะโอซาวะ
21 พ.ค.จัดการประชุมชี้แนะการดูแล และอนุรัษณ์สภาพของพื้นที่ในปัจจุบัน
※เตรียมตัวก่อนการสำรวจพื้นที่ของอิโคมอส
26 ส.ค.การสำรวจพื้นที่ของอิโคมอส ถึง 10ส.ค.
ผู้สำรวจ: คุณจากัส วีระสิงหา (กรรมการจากคณะกรรมการอิโคมอส ศรีลังกา)
4 พ.ย.เปิดการประชุม มรดกโลก “ฮิระอิซูมิ” ฟอรั่ม
-คืนก่อนการขึ้นทะเบียนมรดกโลก เรียนรู้จากพื้นที่รุ่นพี่-
6 พ.ย.ส่ง “เอกสารข้อมูลเพิ่มเติม” ไปยังอิโคมอส ตามความต้องการของทีมสำรวจอิโคมอส
18 ธ.ค.อิโคมอส ส่งใบคำถามเกี่ยวกับ “ฮิระอิซูมิ” มาจำนวน 4 หน้า
ต้องการข้อมูลเพิ่มเติม
ปีเฮเซ 20(2008)
26 ม.ค.ประกาศแถลงรายละเอียดภาพลักษณ์ “มรดกทางวัฒนธรรม ฮิระอิซูมิ” จังหวัดอิวาเตะ
(ตราสัญลักษณ์, รูปภาพ, ดนตรี)

ประกาศแถลงรายละเอียดภาพลักษณ์ (26 ม.ค. 2008)
28 ก.พ.ยื่นส่ง “เอกสารข้อมูลเพิ่มเติม” ไปยังอิโคมอส โดยสำนักงานวัฒนธรรม
2,3 มี.ค.คินโด เซอิจิ ทูตแต่งตั้งพิเศษผู้ได้รับสิทธิ์เต็ม ฝ่ายตัวแทนยูเนสโก้ รัฐบาลญี่ปุ่น สำรวจ “ฮิระอิซูมิ”
23 พ.ค.ประกาศแจ้งเสนอ “เลื่อนการขึ้นทะเบียน” จากสำนักงานวัฒนธรรม และอิโคมอส
10 มิ.ย.การประชุมวางแผนปารีส ถึง 13 มิ.ย.การประชุมร่วมกันระหว่างสำนักงานวัฒนธรรม, กระทรวงต่างประเทศ, จังหวัดอิวาเตะ และผู้รับผิดชอบจากเมืองต่าง ๆ ที่เกียวข้องในการวางแผนอย่างเป็นรูปธรรมเพื่อการพิจารณาที่ปารีสหลังจากนั้น ทูตคินโดได้มีการจัดการอธิบายต่อประเทศสมาชิก
14 มิ.ย.แผ่นดินไหวระดับ 5 ใหญ่ ในพื้นที่ภายในของจังหวัดอิวาเตะ และมิยางิ
2 ก.ค.การประชุมคณะกรรมการมรดกโลกครั้งที่ 32 ณ กรุงควิเบก ซิตี้ (แคนาดา) ถึง 10 ก.ค.
7 ก.ค.การพิจารณา “ฮิระอิซูมิ” เสร็จสิ้น สรุปให้เลื่อนการขึ้นทะเบียน (วันที่ 6 ก.ค. เวลา 20น. 36นาทีตามเวลาท้องถิ่น)
งานแถลงข่าวของกลุ่มตัวแทนรัฐบาลญี่ปุ่น เผยการดำเนินการเสนอชื่อจากนี้ว่า จะให้ความสำคัญกับ “ฮิระอิซูมิ” มาเป็นอันดับหนึ่ง โดยตั้งเป้าเสนอ เพื่อพิจารณาอีกครั้งในการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกในปี 2011
เริ่มความท้าทายอีกครั้ง
5 ก.ย.จัดการบรรยายให้แก่ชาวเมืองเรื่องมรดกโลก
22 ก.ย.จัดการประชุมคณะกรรมการจัดทำใบยื่นเสนอขึ้นทะเบียนมรดกโลกของ “มรดกทางวัฒนธรรม ฮิระอิซูมิ”
จากนั้น ได้มีการจัดการประชุมอีก 10 ครั้งจนถึง 20 ก.ค. 2011 (ต่อจากนี้จะใช้คำว่า คณะกรรมการจัดทำใบยื่นเสนอ)
จัดการประชุมร่วม ในเรื่องรายละเอียดของการจัดทำใบยื่นเสนอ และยื่นเสนอ จนถึงช่วงมีมติจากคณะกรรมการมรดกโลกออกมา ของครั้งที่แล้ว
14 พ.ย.จัดนิทรรศการพิเศษ “ฮิระอิซูมิ สุขาวดีแห่งมิจิโนะกุ”
จัดถึง 19 เม.ย. 2009
สถานที่ พิพิธภัณฑ์เซนได, พิพิธภัณฑ์เมืองฟุคุโอกะ, หอศิลปะเซตะงะยะ
มีผู้เข้าชมงานรวมทั้งหมดประมาณ 2 แสนคน
ปีเฮเซ21(2009)
21 ก.พ.หารือร่วมกับนักวิชาการนานาชาติ (ครั้งที่ 1) ถึง 23 ก.พ.
ฮาร์ป สตอร์เบล (ร.ศ.จากมหาวิทยาลัยคาร์ลตัน แคนาดา)
เชิญอ.ลูโจว (ศ.มหาวิทยาลัยซิงหัว ประเทศจีน)
รับคำแนะนำในเรื่องการสร้างแนวคิดแบบครบวงจรของ “ฮิระอิซูมิ” ในการเป็น “ดินแดนสุขาวดี”

ได้มีการเชิญูผู้เชียวชาญจากต่างชาติมา เพื่อเสนอชื่ออีกครั้ง (21 มีค. 2009)
(H21.3.21)
เม.ย.ปรับพระราชบัญญัติภูมิทัศน์เมืองฮิระอิซูมิให้สอดคล้องกับกฏหมายภูมิทัศน์
4 เม.ย.หารือร่วมกับนักวิชาการ (ครั้งที่ 2)
ได้ยกเสนอให้วัดจูซนจิ, วัดโมซือจิ, ซากวัดมุเรียวโคอิน, เขาคิงเคซังเป็นสมบัติที่เกี่ยวข้อง ในปี 2010
ส่วนซากยานางิโนะโกะโชะนั้น ในฐานะที่เป็นแกนกลางของแบบเมือง จึงสามารถเสนอได้เช่นกัน
นอกจากนั้น ในอนาคต จากขั้นตอนที่ได้จัดระบบจากผลงานวิจัยและสำรวจ ได้เล็งเห็นถึงความเหมาะสมในการ “เพิ่มขยาย” สมบัติที่เกี่ยวข้อง
14 เม.ย.เปิดศูนย์มรดกทางวัฒนธรรมฮิระอิซูมิ โดยดัดแปลงมาจากพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นฮิระอิซูมิ
23 เม.ย.การประชุมร่วมกันอย่างเป็นทางการของสำนักงานวัฒนธรรม, จังหวัดอิวาเตะ, เมืองอิจิโนะเซกิ, เมืองโอชู, เมืองฮิระอิซูมิ
มีมติเอกฉันท์ในการยื่นเสนอสมบัติที่เกี่ยวข้องไปอีกครั้ง
โดยตั้งเป้าหมายจะขึ้นทะเบียนสมบัติ 5 แห่ง คือ วัดจูซนจิ, วัดโมซือจิ (รวมซากคันจิไซโออิน), ซากวัดมุเรียวโคอิน, เขาคิงเคซัง, ซากยานางิโนะโกะโชะ ในปี 2011
15 พ.ค.เปิดงานประชุมวิชาการเกี่ยวกับมรดกโลก (ฮิระอิซูมิ)
19 พ.ค.เปิดงาน (งานวิจัยนานาชาติเกี่ยวกับสวนกับโลกอุดมคติของเอเชียตะวันออก) ถึงวันที่ 21 เดือนพฤษภาคม
(สถานที่จัดงาน ศูนย์วิจัยทางวัฒนธรรมแห่งชาตินารา)
ได้มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นข้อมูลต่างๆ กับนักวิจัยเฉพาะด้านจากทั้งจีน และเกาหลี เกี่ยวกับสวนสุขาวดีของฮิระอิซูมิ
16 มิ.ย.การประชุมของกรรมการในการเสนอชื่อเข้าเป็นมรดกโลก (ครั้งที่ 6)
จากโมซือจิจนถึงคันจิไซโออินอะโต สินทรัพย์ แยกออกเป็น 6 ส่วน
28 ก.ย.ส่งเอกสารประชุมชั่วคราว ไปยังศูนย์มรดกโลกของยูเนสโก้
21 พ.ย.ได้มีการประกาศให้กับบุคคลทั่วไปได้ทราบถึงการยื่นเรื่อง (ขอเสนอชื่อจดทะเบียนเป็นมรดกโลก)
26 พ.ย.การประชุมของกรรมการในการเสนอชื่อเข้าเป็นมรดกโลก (ครั้งที่ 8) รับทราบถึงแผนแม่บทแบบเป็นรูปธรรมใช้ชื่อว่า (ฮิระอิซูมิ ดินแดนแห่งพระพุทธศาสนา(สุขาวดี) ซึ่งแสดงให้เห็นถึงสิ่งก่อสร้างและสวน และแนวคิดแบบการศึกษาทางโบราณคดี)
12/11คณะกรรมการการพิจารณาด้านวัฒนธรรม ได้รับทราบถึงการเสนอชื่อจดทะเบียนเป็นมรดกโลก
ปีเฮเซ 22(2010)
18 ม.ค.มีการประชุมของผู้เกี่ยวข้องของรัฐบาลให้เสนอชื่อ (ฮิระอิซูมิ) เข้าเป็นมรดกโลก
ได้ส่งเอกสารต่างๆ เพื่อทำการเสนอชื่อเข้าจดทะเบียนไปยังศูนย์มรดกโลกยูเนสโก้

บรรยายถึงการสร้างเมืองด้วยใช้ประวัติศาสตร์เป็นแม่แบบ
คุณนิชิมุระ ยูกิโอะ (13 มีค 2010)
22 ก.พ.ได้เพิ่ม คิงเคซัง ยานางิโนะโกะโชะอิเซกิ เข้าในซากโบราณ และได้เพิ่ม มุเรียวโคอินอะโต เข้าในโบราณสถานแบบพิเศษ
1 เม.ย.ฮิระอิซูมิ บังคับใช้พระราชกฤษฏีกาการประชาสัมพันธ์สื่อภายนอก
24 เม.ย.เปิดสวนยานางิโนะโกะโชะอิเซกิ
ได้มีการเปิดอาคารหอสมบัติของยานางิโนะโกะโชะที่ได้มีการปรับปรุงใหม่
29 มิ.ย.ฮิระอิซูมิได้ขึ้นทะเบียน (กลุ่มโบราณสถานที่ขุดพบฮิระอิซูมิจ.อิวาเตะ) รวมถึง
จ.อิวาเตะได้ขึ้นทะเบียน (กลุ่มโบราณสถานที่ขุดพบฮิระอิซูมิจ.อิวาเตะ(ยานางิโนะโกะโชะ)) เป็นสมบัติที่สำคัญทางวัฒนธรรม
25 ก.ค.การประชุมสมาชิกมรดกโลกครั้งที่ 34 หัวหน้าศูนย์ส่งเสริมมรดกโลกของฮิระอิซูมิได้เข้าร่วมประชุมด้วย จัดถึงวันที่ 3 ส.ค.
7 ก.ย.ได้มีการลงสำรวจพื้นที่จริงโดยอิโคมอส
ผู้สำรวจคือ คุณโอริสึกุง (เป็นกรรมการภายในประเทศของอิโคมอสจีน)
ปีเฮเซ 23(2011)
3 มี.ค.มีการเปิดการบรรยายเกี่ยวกับมรดกโลก
ผู้บรรยาย อดีตหัวฝ่ายธุรการของยูเนสโก้ คุณมัตสึอุระ อิจิโร่

การประชุมคณะกรรมการมรดกโลกครั้งที่ 35
ฮิระอิซูมิได้รับเลือกให้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก (วันที่ 25 มิย. 2011)
11 มี.ค.เกิดแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ทางภาคตะวันออกของญี่ปุ่น ที่ฮิระอิซูมิแผ่นดินไหวความรุนแรงระดับ 5 รุนแรง
7 เม.ย.แผ่นดินไหวที่ตามมา ฮิระอิซูมิความรุนแรงระดับ 6 อ่อน
7 พ.ค.คำแนะนำอิโคมอส (จดบันทึก)
ต้องการให้มีการเปลี่ยนชื่อของที่อื่นๆ ยกเว้น (ยานางิโนะโกะโชะอิเซกิ)และ ชื่อของสินทรัพย์ต่างๆ
26 มิ.ย.การประชุมคณะกรรมการของมรดกโลกครั้งที่ 35 (สถานที่ประชุม ปารีส) (ฮิระอิซูมิ) ได้ถูกรับเลือกให้เป็นมรดกโลก (ที่ญี่ปุ่นเป็นวันที่ 25 เวลา 17.50น.)
29 มิ.ย.การขึ้นทะเบียนได้รับการยืนยัน ได้รับการปรากฎชื่อในมรดกโลกอย่างเป็นทางการ
2 ก.ค.มีการจัดงานแถลงข่าวแสดงความยินดีที่ได้รับเลือกให้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก (หน้าสถานีรถไฟฮิระอิซูมิ มุเรียวโคอินอะโต)
8 พ.ย.งานเฉลิมฉลองรำลึกถึงการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกฮิระอิซูมิ
ปีเฮเซ 24(2012)
13 ก.พ.ทางรัฐบาลได้มีการจัดงานแถลงการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกอย่างเป็นทางการ
25 ก.ย.(ฮิระอิซูมิ) ได้ขยายบริเวณอาณาเขต รวม (ยานางิโนะโกะโชะอิเซกิ) (ทักโกกุโนะอิวายะ)(โฮเนะเดะระมุระโชวเอนอิเซกิ) (อ. อิจิโนะเซกิ)
(ซากวัดโจจะงะฮาระ)(ชิโระโทริดาเตะอิเซกิ) (อ. โอชู) ได้ถูกกำหนดให้เข้าอยู่ในรายชื่อแบบชั่วคราว

กลับหน้าหลัก